เครื่องทำลมแห้งแบบแกนหมุน – 100% ของอากาศอัดร้อนที่ได้จากกระบวนการอัดที่สอง | ||
- ซิลิกาเจล ดรัม | ||
- ทางออกอากาศที่ปรับคุณภาพแล้ว | ||
- เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ระบายความร้อนอากาศที่ปรับคุณภาพแล้ว | ||
- กับดักแยกคอนเดนเสต | ||
- พัดลมเหวี่ยงหนีศูนย์ปรับสมดุลของแรงดันตกในกระบวนการทำลมแห้ง | ||
- ทางเข้ากระบวนการทำลมแห้ง | ||
- ทางออกแกนหมุนของเครื่องทำลมแห้ง | ||
- ดรัมมอเตอร์ | ||
- ตัวเลือกสำหรับเซนเซอร์ pressure dew pointสำหรับกระบวนการ regenerate สารดูดความชื้น (จุด 1,2,3) เครื่องทำลมแห้ง i.HOC (integrated Heat Of Compression) ใช้ประโยชน์จากอากาศร้อนที่ได้จาก second compression stage ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 100% ข้อดีของ full flow regeneration ชัดเจนยิ่ง เมื่อสามารถเพิ่มอุณหภูมิของตัว coolant ในสภาวะที่เครื่องทำงานไม่เต็มกำลัง เนื่องจากความร้อนที่ต้องการสามารถกำเนิดขึ้นมาโดยไม่มีค่าใช้จ่ายในกระบวนการ i.HOC ด้วยชุดควบคุมอัจฉริยะในเครื่องทำลมแห้งแบบแกนหมุน ทำให้ dew point ที่ได้มีความเสถียรภาพสูง แม้ในสภาวะที่มีการจ่ายลมผันผวนมาก และในภาระการทำงานต่ำ ความเร็วของดรัม (2) ถูกปรับแต่งอัตโนมัติตามประสิทธิภาพของเครื่องอัดอากาศ เพื่อคงความสามารถในการ regenerate สารดูดความชื้นได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดที่เป็นไปได้ นี่คือกุญแจสำคัญที่ทำ pressure dew point ได้ถึง -30 °C ได้อย่างเสมอต้นเสมอปลาย ประสิทธิภาพของเครื่องทำลมแห้งยังขึ้นอยู่กับแรงดันต่าง แรงดันต่างในเครื่องทำลมแห้งทั่วไป เป็นข้อชดเชยสำหรับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นอย่างมากเมื่อแรงดันในระบบเพิ่มขึ้น แต่ไม่ใช่สำหรับเครื่องทำลมแห้งแบบแกนหมุน i.HOC ด้วยพัดลมชนิดเหวี่ยงหนีศูนย์ประสิทธิภาพสูง (6) ที่อยู่ใต้เครื่องทำลมแห้ง ทำให้กระบวนการ drying process สามารถกระจายแรงดันสูญเสีย (7,8) เมื่อต้องการ ซึ่งสามารถทำให้ได้มาซึ่ง pressure dew point ที่ต้องการด้วยความผันผวนต่ำ – แรงดันขาออก (8) สูงกว่าแรงดันขาเข้า |
วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559
เทคโนโลยี i.HOC โดยละเอียด ของ KAESER
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น